• หมวดหมู่: บทความ
    กระเจี๊ยบเขียว เป็นพืชเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งของประเทศไทย จากข้อมูลของ สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร รายงานว่า การส่งออกกระเจี๊ยบเขียว ในปี 2559 (เฉพาะที่มีใบรับรองสุขอนามัยพืช) มีปริมาณสูงถึง 3,157 ตัน จัดเป็นลำดับที่ 8 ของการส่งออกพืชผัก ตลาดหลัก คือประเทศญี่ปุ่น อ่านต่อ >>

    18 ก.ย. 2561

    ผู้ชม 15919 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    เมล่อน (melon) แคนตาลูป (cantaloupe) และมีมากมายหลายสายพันธุ์ ในบทความนี้ จประเด็นหลักที่จะพูดถึงรายละเอียดของแมลงแต่ละชนิดที่พบทั่วไปในปลูกแตงเมล่อน  ตลอดจนแนะนำวิธีการป้องกันกำจัด เพื่อให้เกษตรกรสามารถนำไปใช้เป็นหลักการในการแก้ปัญหา อ่านต่อ>>

    18 ก.ย. 2561

    ผู้ชม 30089 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์ของเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง ที่สามารถพบทั่วไปในดิน ในน้ำ ในพืช ซึ่งมีการศึกษากันอย่างมากมายจากนักวิทยาศาสตร์ จนถึงปัจจุบัน ทำให้เรามีความรู้เกี่ยวกับแบคทีเรียชนิดนี้อย่างลึกซึ้ง และสามารถนำมาพัฒนาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางในทางการเกษตร  เพราะมีคุณสมบัติ เป็นทั้ง สารชีวภัณฑ์กำจัดโรคพืช และเป็นสารกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช (Plant biostimulants) อ่านต่อ >>

    18 ก.ย. 2561

    ผู้ชม 6476 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    เอฟเอโอ หรือ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ถือว่า กล้วย เป็นความมั่นคงทางอาหารและเป็นวิถีการดำรงชีวิตของคนชนบทในเอเชีย อาฟริกา ลาตินอเมริกาและประเทศแถบคาริเบียน แต่การปลูกกล้วยในปัจจุบัน ก็มีปัญหาร้ายแรงจากโรคตายพรายที่เกิดจากเชื้อราในดิน ที่เรียกชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ฟิวซาเรี่ยม (Fusarium oxysporum f. sp. cubense) โดยเฉพาะกับเชื้อราสายพันธุ์ใหม่ [Tropical Race 4 (TR4)] ซึ่งเอฟเอโอ ได้รายงานในปี 2017 ว่า เชื้อราสายพันธุ์นี้ มีแหล่งกำเนิดอยู่ในเขตร้อน ณ ปัจจุบัน พบการระบาดส่วนใหญ่อยู

    28 มี.ค. 2567

    ผู้ชม 6525 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    นหลักการพื้นฐานการป้องกันกำจัดศัตรูพืช หรือการควบคุมการทำลายของศัตรูพืช ไม่ให้เกิดความเสียหายจนถึงระดับเศรษฐกิจต่อการปลูกพืชของเกษตรกรซึ่งเป็นที่ยอมรับทั่วโลก นั้น คือ หลักการที่กรมวิชาการเกษตร เรียกว่า การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน หรือมักเรียกย่อๆว่า IPM (Integrated Pest Management) ซึ่งคำอธิบายหลักการนี้มีอยู่มากมายโดยสถาบันการศึกษาวิทยาศาสตร์เกษตรและหน่วยงานเกษตรของรัฐ แต่คำอธิบายที่เข้าใจง่ายที่สุดและปฏิบัติได้ง่าย คือ คำอธิบายหลักการ IPM ของหน่วยงาน ศูนย์ข้อมูลสารเคมีกำจัดศัตรูพืชแห่งช

    08 ต.ค. 2561

    ผู้ชม 4370 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    ถ้าถามว่า คนมีความเครียด ไหม ? ตอบได้ทันทีว่า มีแน่นอน เครียดแล้ว เป็นอย่างไร ? ไม่สบาย อ่อนเพลียร่างกายไม่แข็งแรง เบื่ออาหาร แล้วพืช ล่ะ ? คนจำนวนไม่น้อย อาจคิดว่า พืชไม่มีความเครียด แต่ในความเป็นจริง นักวิทยาศาสตร์ด้านชีววิทยา ค้นพบว่า พืช ก็มีความเครียดจากผลกระทบรอบข้าง อยู่ตลอดเวลา สิ่งที่มากระทบ แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ (1) จากสิ่งที่ไม่มีชีวิต และ (2) จากสิ่งมีชีวิต

    16 ต.ค. 2561

    ผู้ชม 12642 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    คำว่า Biostimulants แม้ว่าในช่วง 10-15 ปีที่ผ่านมา อาจจะมีความสับสน คำจำกัดความไม่ชัดเจนในเชิงวิชาการและไม่มีกฏเกณฑ์ที่ชัดเจนในทางกฏหมายสำหรับ การขึ้นทะเบียนเพื่อจำหน่ายในทางการค้า แต่ด้วยความก้าวหน้าทางงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์เกษตร ปัจจุบัน สารกลุ่ม Biostimulants มีความชัดเจน ทั้งในเชิงวิชาการและกำลังจะมีกฏเกณฑ์ทางกฎหมายการขึ้นทะเบียนเพื่อการค้าในระดับสากล ภายในอีก 2 ปีข้างหน้า

    24 ต.ค. 2561

    ผู้ชม 559 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    จากคำถามของเกษตรกรในวารสาร เคหการเกษตร ฉบับประจำเดือน ตุลาคม 2561 ซึ่งเกษตรกรให้ข้อมูลว่า “เพลี้ยไฟ ไรแดง ดื้อยา ในสตรอเบอร์รี่ ขอคำแนะนำในการเลือกใช้สารเคมีป้องกันกำจัด เพลี้ยไฟ เนื่องจากทดลองใช้สารเคมีที่มีประสิทธิภาพสูงอย่างโปรวาโดและเอ็กซอล มาแล้ว แต่ก็ยังไม่ได้ผล อยากทราบว่าจะใช้สารเคมีกลุ่มใดได้อีกบ้าง”

    07 พ.ย. 2561

    ผู้ชม 3737 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    จากคอลัมน์เกษตรในหน้าหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับประจำวันที่ 15 พฤศจิกายน 2561 เรื่อง “รับมือ 2 โรคสตรอเบอร์รี่” ว่าลมหนาวโชยมา กรมวิชาการเกษตรเตือนเกษตรกรผู้ปลูกสตรอเบอร์รี่ เฝ้าระวังการระบาดของโรคราแป้งและโรคแอนแทรคโนส

    27 พ.ย. 2561

    ผู้ชม 9349 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
              ความคิดในการเขียนบทความนี้ เกิดขึ้นจากเกษตรกรส่งรูปใบทุเรียนที่มีเกล็ดสีขาวๆบนใบไปถามผู้เชี่ยวชาญในวารสาร เคหการเกษตร ฉบับประจำเดือน พฤศจิกายน 2561 ว่าใบทุเรียนในภาพนี้เกิดจากสาเหตุอะไร

    07 ม.ค. 2562

    ผู้ชม 7566 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
              หลังจากที่ศูนย์แนะนำการแก้ปัญหาการปลูกพืช วนิดาเกษตร   ได้เสนอบทความเกี่ยวกับโรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน ซึ่งเกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ที่เรียกว่า ไฟทอปธอรา (Phytophthora spp.) พร้อมกับเสนอผลการทดสอบการแก้ปัญหาโรคนี้ออกไปเมื่อกลางเดือนกันยายน 25561 ที่ผ่านมา ปรากฏว่ามีผู้เข้ามาดูบทความนี้ เป็นจำนวนมากและมีต่อเนื่องทุกวัน

    01 ก.พ. 2562

    ผู้ชม 9559 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    โรคแอนแทรคโนส เป็นการเรียกชื่อโรคพืชตามภาษาฝรั่งว่า anthracnose ซึ่งมีรากคำศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ anthrax (อ่านว่า แอนแทรค แปลว่า ถ่านหิน) + nosos (อ่านว่า โนโซส แปลว่า โรค) มาผสมรวมกัน เป็นคำเรียกชื่อโรคที่เกิดกับต้นพืชว่า โรคแอนแทรคโนส (โรคที่มีลักษณะอาการเป็นสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลดำ เหมือนถ่านหิน)

    13 ก.พ. 2562

    ผู้ชม 11121 ครั้ง

Engine by shopup.com