• หมวดหมู่: บทความ
    กระเจี๊ยบเขียว เป็นพืชเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งของประเทศไทย จากข้อมูลของ สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร รายงานว่า การส่งออกกระเจี๊ยบเขียว ในปี 2559 (เฉพาะที่มีใบรับรองสุขอนามัยพืช) มีปริมาณสูงถึง 3,157 ตัน จัดเป็นลำดับที่ 8 ของการส่งออกพืชผัก ตลาดหลัก คือประเทศญี่ปุ่น อ่านต่อ >>

    18 ก.ย. 2561

    ผู้ชม 17390 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    เมล่อน (melon) แคนตาลูป (cantaloupe) และมีมากมายหลายสายพันธุ์ ในบทความนี้ จประเด็นหลักที่จะพูดถึงรายละเอียดของแมลงแต่ละชนิดที่พบทั่วไปในปลูกแตงเมล่อน  ตลอดจนแนะนำวิธีการป้องกันกำจัด เพื่อให้เกษตรกรสามารถนำไปใช้เป็นหลักการในการแก้ปัญหา อ่านต่อ>>

    18 ก.ย. 2561

    ผู้ชม 31852 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์ของเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง ที่สามารถพบทั่วไปในดิน ในน้ำ ในพืช ซึ่งมีการศึกษากันอย่างมากมายจากนักวิทยาศาสตร์ จนถึงปัจจุบัน ทำให้เรามีความรู้เกี่ยวกับแบคทีเรียชนิดนี้อย่างลึกซึ้ง และสามารถนำมาพัฒนาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางในทางการเกษตร  เพราะมีคุณสมบัติ เป็นทั้ง สารชีวภัณฑ์กำจัดโรคพืช และเป็นสารกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช (Plant biostimulants) อ่านต่อ >>

    18 ก.ย. 2561

    ผู้ชม 6812 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    เอฟเอโอ หรือ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ถือว่า กล้วย เป็นความมั่นคงทางอาหารและเป็นวิถีการดำรงชีวิตของคนชนบทในเอเชีย อาฟริกา ลาตินอเมริกาและประเทศแถบคาริเบียน แต่การปลูกกล้วยในปัจจุบัน ก็มีปัญหาร้ายแรงจากโรคตายพรายที่เกิดจากเชื้อราในดิน ที่เรียกชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ฟิวซาเรี่ยม (Fusarium oxysporum f. sp. cubense) โดยเฉพาะกับเชื้อราสายพันธุ์ใหม่ [Tropical Race 4 (TR4)] ซึ่งเอฟเอโอ ได้รายงานในปี 2017 ว่า เชื้อราสายพันธุ์นี้ มีแหล่งกำเนิดอยู่ในเขตร้อน ณ ปัจจุบัน พบการระบาดส่วนใหญ่อยู

    28 มี.ค. 2567

    ผู้ชม 6735 ครั้ง

  • สารชีวภัณฑ์  คือ ผลิตภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่ผลิต, พัฒนามาจากสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ แต่ไม่นับรวมสารที่สกัดหรือแยกได้จากสิ่งมีชีวิตที่เป็นสารเคมีเชิงเดี่ยวเช่น ไพรีทรอยด์ นิโคติน อะบาเม็กติน ชีวภัณฑ์ (Microbial Pesticide)  คือผลิตภัณฑ์ที่เป็นสิ่งมีชีวิตใช้ในการควบคุมศัตรูพืช ได้แก่ ตัวห้ำ ตัวเบียน และเชื้อจุลินทรีย์  

    24 ก.ย. 2561

    ผู้ชม 11723 ครั้ง

  • ชื้อราเมธาไรเซียม  หรือเชื้อราเขียว เป็นจุลินทรีย์ขนาดเล็กพบในดินทั่วไป เป็นเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคกับแมลงศัตรูพืช เจริญเติบได้ดีในช่วงอุณหภูมิ 27-30 องศาเซลเซียส และสร้างสปอร์ได้ใน 5-7 วัน เส้นใยเริ่มต้นมีสีขาว สร้างสปอร์รูปร่างรี สีเขียวขี้ม้า เชื้อราเมธาไรเซียมสามารถทําลายแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด ทําลายได้ทั้งตัวอ่อน ดักแด้ และตัวเต็มวัย เช่น ด้วงแรดมะพร้าว ด้วงหมัดผัก หนอนศัตรูพืช หนอนเจาะลําต้น หนอกกอ ปลวก หนอนทราย บั่ว ไร และเพลี้ยต่างๆ เช่นเพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เป็นต้น

    13 พ.ย. 2561

    ผู้ชม 23754 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    นหลักการพื้นฐานการป้องกันกำจัดศัตรูพืช หรือการควบคุมการทำลายของศัตรูพืช ไม่ให้เกิดความเสียหายจนถึงระดับเศรษฐกิจต่อการปลูกพืชของเกษตรกรซึ่งเป็นที่ยอมรับทั่วโลก นั้น คือ หลักการที่กรมวิชาการเกษตร เรียกว่า การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน หรือมักเรียกย่อๆว่า IPM (Integrated Pest Management) ซึ่งคำอธิบายหลักการนี้มีอยู่มากมายโดยสถาบันการศึกษาวิทยาศาสตร์เกษตรและหน่วยงานเกษตรของรัฐ แต่คำอธิบายที่เข้าใจง่ายที่สุดและปฏิบัติได้ง่าย คือ คำอธิบายหลักการ IPM ของหน่วยงาน ศูนย์ข้อมูลสารเคมีกำจัดศัตรูพืชแห่งช

    08 ต.ค. 2561

    ผู้ชม 4536 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    ถ้าถามว่า คนมีความเครียด ไหม ? ตอบได้ทันทีว่า มีแน่นอน เครียดแล้ว เป็นอย่างไร ? ไม่สบาย อ่อนเพลียร่างกายไม่แข็งแรง เบื่ออาหาร แล้วพืช ล่ะ ? คนจำนวนไม่น้อย อาจคิดว่า พืชไม่มีความเครียด แต่ในความเป็นจริง นักวิทยาศาสตร์ด้านชีววิทยา ค้นพบว่า พืช ก็มีความเครียดจากผลกระทบรอบข้าง อยู่ตลอดเวลา สิ่งที่มากระทบ แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ (1) จากสิ่งที่ไม่มีชีวิต และ (2) จากสิ่งมีชีวิต

    16 ต.ค. 2561

    ผู้ชม 14147 ครั้ง

  • เชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Bacillus subtilis spp. เป็นเชื้อที่นิยมใช้กันทั่วโลกเพราะมีความปลอดภัยสูง ซึ่งพบได้ทั่วในธรรมชาติ มีรูปร่างเป็นท่อน (rod shape) ย้อมติดสีแกรมบวก (gram positive bacteria) สามารถสร้างเอน โดสปอร์ (endospores) ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญได้ดี จึงนิยมนำมาใช้ในการเกษตร

    28 มี.ค. 2567

    ผู้ชม 7897 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    คำว่า Biostimulants แม้ว่าในช่วง 10-15 ปีที่ผ่านมา อาจจะมีความสับสน คำจำกัดความไม่ชัดเจนในเชิงวิชาการและไม่มีกฏเกณฑ์ที่ชัดเจนในทางกฏหมายสำหรับ การขึ้นทะเบียนเพื่อจำหน่ายในทางการค้า แต่ด้วยความก้าวหน้าทางงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์เกษตร ปัจจุบัน สารกลุ่ม Biostimulants มีความชัดเจน ทั้งในเชิงวิชาการและกำลังจะมีกฏเกณฑ์ทางกฎหมายการขึ้นทะเบียนเพื่อการค้าในระดับสากล ภายในอีก 2 ปีข้างหน้า

    24 ต.ค. 2561

    ผู้ชม 2734 ครั้ง

  • หมวดหมู่: บทความ
    จากคำถามของเกษตรกรในวารสาร เคหการเกษตร ฉบับประจำเดือน ตุลาคม 2561 ซึ่งเกษตรกรให้ข้อมูลว่า “เพลี้ยไฟ ไรแดง ดื้อยา ในสตรอเบอร์รี่ ขอคำแนะนำในการเลือกใช้สารเคมีป้องกันกำจัด เพลี้ยไฟ เนื่องจากทดลองใช้สารเคมีที่มีประสิทธิภาพสูงอย่างโปรวาโดและเอ็กซอล มาแล้ว แต่ก็ยังไม่ได้ผล อยากทราบว่าจะใช้สารเคมีกลุ่มใดได้อีกบ้าง”

    07 พ.ย. 2561

    ผู้ชม 4861 ครั้ง

  • เชื้อราไตรโคเดอร์มา จัดเป็นเชื้อราชั้นสูง ที่ดำรงชีวิตอยู่ในดิน อาศัยเศษซากพืชซากสัตว์และอินทรีย์วัตถุเป็นแหล่งอาหาร ทำหน้าที่เชื้อราศัตรู (ปฏิปักษ์) ต่อเชื้อสาเหตุโรคพืช เส้นใยมีสีขาว สปอร์มีสีเขียว ช่วยปกป้องรากพืชจากเชื้อโรค ช่วยในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ชักนำให้ต้นพืชมีความต้านทาน และเชื้อราไตรโคเดอร์มายังสามารถผลิตสารปฏิชีวนะหรือสารพิษ ตลอดจนน้ำย่อยหรือเอนไซม์ สำหรับช่วยละลายผนังเส้นใยของเชื้อโรคพืชได้

    08 พ.ย. 2561

    ผู้ชม 1972 ครั้ง

Engine by shopup.com